การวิเคราะห์ศักยภาพโครงการวิจัย คณะเกษตรฯ
 การใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยของคณะเกษตรฯ
 การบริหารงานวิจัย
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
 สำนักงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
 แหล่งทุนวิจัยอื่น ๆ
 รายงานประจำปี 2546
 รายงานประจำปี 2547
 รายงานประจำปี 2548
 รายงานประจำปี 2549
 รายงานประจำปี 2550
 รายงานประจำปี 2551
 รายงานประจำปี 2552
 รายงานประจำปี 2553
โครงการวิจัยสัตว์เศรษฐกิจ
 ผลของคุณลักษณะเส้นใยกล้ามเนื้อ โปรตีโอมิค และ กรดอะมิโน ของโคพื้นเมืองต่อคุณภาพเนื้อ (Effect of muscle fiber characteristics, proteomics and amino acid on meat quality of native cattle)

  ชื่อหัวหน้าโครงการ/ผู้ร่วมวิจัย
     1. ดร.กนกวรรณ ศรีงาม (Kanokwan Sringarm ) ห้องปฏิบัติการกลาง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
     2. นายแพทย์ ทรงเกียรติ สุวรรณศิริกุล (Songkeart Suwansirikul ) ภาควิชาอายุรศาสตร์ …คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200
     3. รศ. ดร. สัญชัย จตุรสิทธา (Sanchai Jaturasitha ) ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200
     4. อ.ดร. จิรวัฒน์ พัสระ (Jirawat Phatsara ) ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200
     5. นายศุภฤกษ์ สายทอง (Supareak Saitong ) สถานีวิจัยทดสอบพันธุสัตว์แพร่ จ. แพร่

  หลักการเหตุผล
         การเลี้ยงโคพื้นเมืองนับเป็นสัตว์ควบคู่กับคนไทยกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ มีความเชื่อมโยงเกี่ยวข้องกับระบบเศรษฐกิจทั้งจุลภาคและมหภาค นอกจากนี้ยังมีบทบาทต่อสังคม วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของประชาชนอีกด้วย ในอดีตการเลี้ยงโคพื้นเมืองเพื่อไว้ใช้เป็นแรงงานในการทำเกษตร แต่ปัจจุบันมีความต้องการเนื้อโคพื้นเมืองเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นเพื่อสนองตอบความต้องการของตลาด จึงมีการปรับปรุงระบบการเลี้ยง และที่สำคัญทางสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) ดำเนินการวิจัยชุดโครงการการใช้ประโยชน์จากโคพื้นเมือง ในระหว่างปี พ.ศ. 2548 ถึง ปี พ.ศ. 2552 ซึ่งผลจากการดำเนินงานวิจัยที่ผ่านมาทำให้ทราบถึงระบบการผลิต การเลี้ยง การจัดการ ทั้งในระดับฟาร์มเกษตรกร แต่ลักษณะทางคุณภาพการบริโภคนั้น โดยเฉพาะ กลิ่น รส ความเหนียวนุ่ม โปรตีโอมิค กรดอะมิโน รวมถึงลักษณะเส้นใยกล้ามเนื้อยังไม่มีการศึกษา ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะสะท้อนความสำคัญในเรื่องคุณภาพเนื้อ ดังนั้นนอกจากเป็นข้อมูลที่ผู้บริโภคให้ความสนในจึงจำเป็นต้องมีการศึกษาคุณลักษณะดังกล่าว เพื่อใช้เป็นจุดขายและยังเป็นข้อมูลจำเป็นต่อการผลิตเชิงพานิชแล้ว ยังเป็นการใช้ประโยชน์จากการใช้ความหลากหลายทางชีวภาพ ของโคพื้นเมือง โคขาวลำพูน และโคดอย ในการทดลองครั้งนี้

  วัตถุประสงค์
    5.1 ทราบถึงผลของชนิดสายพันธุ์โคพื้นเมือง ต่อการเสริมอาหารข้นที่ให้ ประสิทธิภาพเจริญเติบโต คุณภาพซาก และเนื้อดีที่สุด รวมทั้งต้นทุนการเลี้ยง
    5.2 ทราบถึงผลสายพันธุ์โคพื้นเมือง ต่อ ชนิด และองค์ประกอบของเส้นใยกล้ามเนื้อ โปรตีโอมิค รวมถึงกรดอะมิโนของเนื้อโค
    5.3 เพื่อเพิ่มมูลค่าของโคพื้นเมือง และเพิ่มรายได้แก่เกษตรกร
    5.4 เป็นทางเลือกในการผลิตเนื้อโคพื้นเมือง เพื่อให้มีไขมันแทรก


  ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลงาน, ผลผลิต
ปีที่ 1
ปีที่ 2
ปีที่ 3
รวม
1. จำนวนผลงานตีพิมพ์ทางวิชาการ
         1.1 ระดับนานาชาติ
         1.2 ระดับชาติ

 -
1

1
-

 1
1

 2
2
2. จำนวนผลงานสิทธิบัตร
         2.1 ที่ขอยื่นจด
         2.2 ที่ได้รับแล้ว
         2.3 ที่ขออนุญาตใช้สิทธิ์

-
-
-

-
-
-

-
-
-

-
-
-
3. การผลิตบุคลากรวิจัย
         3.1 จำนวนทุนปริญญาโท
         3.2 จำนวนทุนปริญญาเอก
         3.3 จำนวนทุนหลังปริญญาเอก

-
1
-

-
1
-

-
1
-

-
1
-
4. การสร้างเครือข่ายวิจัย
         4.1 จำนวนทุนแลกเปลี่ยน
         4.2 จำนวนทุนเชิญผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ
         4.3 จำนวนทุนจัดการประชุมวิชาการ
                (ระดับนานาชาติ, ระดับชาติ)

-
-
-



-
1
-



-
1
-



-
2
 -

5. ผลกระทบต่อสังคมและภาคการผลิต
          5.1 ระบุจำนวนผลงานและประมาณการมูลค่าในวงเล็บ
          5.2 ทำให้ได้เนื้อโคคุณภาพดีมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค
          5.3 พัฒนากระบวนการผลิตเนื้อโคที่ให้คุณภาพดี
          5.4 เพิ่มรายได้แก่เกษตรกรที่ต้องการผลิตโคพื้นเมืองขุน
          5.5 สามารถประยุกต์ใช้การผลิตเนื้อโคทั่วไป



    1,500,000
จัดอบรม
จัดอบรม
1,000,000
จัดอบรม

1,500,000
จัดอบรม
จัดอบรม
1,000,000
จัดอบรม



 

Copyright © 2004 Division of Research, Academic Services, and International Relations
Agricultural Chiang Mai University All right reserved.
Email : ag_research@chiangmai.ac.th