การวิเคราะห์ศักยภาพโครงการวิจัย คณะเกษตรฯ
 การใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยของคณะเกษตรฯ
 การบริหารงานวิจัย
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
 สำนักงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
 แหล่งทุนวิจัยอื่น ๆ
 รายงานประจำปี 2546
 รายงานประจำปี 2547
 รายงานประจำปี 2548
 รายงานประจำปี 2549
 รายงานประจำปี 2550
 รายงานประจำปี 2551
 รายงานประจำปี 2552
 รายงานประจำปี 2553
โครงการวิจัยกาแฟ
 เชื้อไมโคไรซ่าที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและการสะสมธาตุอาหารในต้นกล้ากาแฟ (Arbuscular mycorrhizal fungi for growth and nutrients accumulate in coffee seedling )

  ชื่อหัวหน้าโครงการ/ผู้ร่วมวิจัย
     1. ดร.นริศ ยิ้มแย้ม (Narit Yimyam ) ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ่
     2. นายประเสริฐ คำออน (Prasert Kham-on ) ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
     3. นายถาวร สุภาวงค์ (Tawon Supawong ) ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
     4. ดร.สิทธิชัย ลอดแก้ว (Sittichai Lordkaew ) ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  หลักการเหตุผล
         กาแฟอราบิก้าที่ปลูกอยู่บนพื้นที่สูงจัดว่าเป็นพืชรายได้ที่สำคัญ และยังช่วยในการอนุรักษ์ดินและน้ำบนที่สูงด้วย ทั้งนี้เพราะกาแฟเป็นพืชยืนต้นและเป็นพืชที่ไม่ทิ้งใบในฤดูแล้ง ซึ่งปลูกครั้งเดียวสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้หลายปี สำหรับระบบการปลูกกาแฟนั้นสามารถทำการปลูกได้ทั้งในบริเวณกลางแจ้ง และในร่มเงา ซึ่งในแต่ละระบบก็มีการจัดการที่แตกต่างกันออกไป เช่น การใช้สายพันธุ์ในการปลูก การจัดการระบบการให้น้ำ การให้ปุ๋ย เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตามในการผลิตกาแฟที่สำคัญประการหนึ่งที่จะประสบความสำเร็จได้นั้น คือการใช้ต้นกล้ากาแฟที่สมบูรณ์และแข็งแรงในการปลูก เพราะจะทำให้ได้ต้นกาแฟที่มีความแข็งแรง โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้นที่มีระบบรากที่สมบูรณ์แข็งแรง และมีประสิทธิ์ภาพในการดูดอาหารที่ดี ในขณะเดียวกันต้องคำนึกถึงต้นทุนการผลิตด้วย ซึ่งจะทำให้การปลูกและผลิตกาแฟอราบิก้าประสบความสำเร็จได้มากยิ่งขึ้น แต่ในปัจจุบันนี้กระบวนการผลิตต้นกล้ากาแฟจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งในส่วนของเอกชนและรัฐบาลยังมีความหลากหลายและยังไม่มีมาตรฐานที่แน่นนอน ซึ่งเป็นปัจจัยหลักที่ทำให้การพัฒนาขบวนการปลูกและผลิตกาแฟไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ดังนั้นเพื่อให้ได้ต้นกล้ากาแฟที่มีลักษณะตามที่ต้องการ จึงน่าจะได้มีการศึกษาถึงวิธีการผลิตต้นกล้าที่ดี และมีต้นทุนในการผลิตต่ำด้วย

  วัตถุประสงค์
    5.1 หาความหลากหลายของเชื้อไมโคไรซ่าที่อาศัยร่วมกับต้นกาแฟ ที่พบได้ในแหล่งปลูกกาแฟของพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
    5.2 ผลิตต้นกล้ากาแฟอราบิก้าที่มี ระบบรากที่สมบูรณ์ และมีประสิทธิภาพในการดูดอาหารที่ดี
    5.3 ลดต้นทุนในการผลิตต้นกล้ากาแฟ
    5.4 ลดเปอร์เซ็นต์การตายของต้นกล้าหลังจากการย้ายปลูก
    5.5 เป็นแหล่งเรียนรู้ของเกษตรกร และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการผลิตกล้ากาแฟที่มีคุณภาพ

  ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลงาน, ผลผลิต
ปีที่ 1
ปีที่ 2
ปีที่ 3
รวม
1. จำนวนผลงานตีพิมพ์ทางวิชาการ
         1.1 ระดับนานาชาติ
         1.2 ระดับชาติ

-
-

 -
1

1
 1

 1
2
2. จำนวนผลงานสิทธิบัตร
         2.1 ที่ขอยื่นจด
         2.2 ที่ได้รับแล้ว
         2.3 ที่ขออนุญาตใช้สิทธิ์

-
-
-

-
-
-

-
-
-

-
-
-
3. การผลิตบุคลากรวิจัย
         3.1 จำนวนทุนปริญญาโท
         3.2 จำนวนทุนปริญญาเอก
         3.3 จำนวนทุนหลังปริญญาเอก

1
-
-

-
-
-

-
-
-

1
-
-
4. การสร้างเครือข่ายวิจัย
         4.1 จำนวนทุนแลกเปลี่ยน
         4.2 จำนวนทุนเชิญผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ
         4.3 จำนวนทุนจัดการประชุมวิชาการ
                (ระดับนานาชาติ, ระดับชาติ)

-
-
-



-
-
-



-
-
-



-
-
 -


5. ผลกระทบต่อสังคมและภาคการผลิต

       


 

Copyright © 2004 Division of Research, Academic Services, and International Relations
Agricultural Chiang Mai University All right reserved.
Email : ag_research@chiangmai.ac.th